10 การจัดการความขัดแย้งในองค์การ
1. ข้อใดหมายถึงความขัดแย้ง
* สภาพการณ์ที่บุคคล 2 ฝ่าย มีความคิดเห็นหรือความเชื่อที่ไม่ตรงกัน
2. ความขัดแย้งอาจเกิดจากบุคลิกภาพส่วนบุคคลคือข้อใด
*ก้าวร้าว
3. ข้อใดเป็นแนวคิดใหม่เรื่องความขัดแย้ง
*มีทั้งคุณและโทษ
4. ความขัดแย้งแบบพอใจ–ไม่พอใจ (Approach–Avoidance Confl ict) คือข้อใด
*
ทั้งรัก ทั้งแค้น
5. ข้อใดเป็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในตัวบุคคล
*
แบบพอใจทั้งคู่
6. ความขัดแย้งที่มีลักษณะเป็น “ความขัดแย้งทางปัญญา” (Cognitive Confl ict) ทำให้เกิดสิ่งใดขึ้นในองค์การ
ก. การเปลี่ยนแปลง
ข. เกิดนวัตกรรม
ค. ทำให้บุคคลในองค์การอุทิศตนให้กับงานมากขึ้น
ง. แนวทางการแก้ปัญหา
7. ข้อใดไม่ใช่ยุทธวิธีการแก้ไขความขัดแย้ง
*ขึงขังเอาจริงเอาจัง
8. ข้อใดเป็นการลดความขัดแย้งภายในองค์การ
ข. มองหาคำตอบที่ทุกคนได้ในสิ่งที่ต้องการ
9. ข้อใดไม่ใช่แนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง
* การแข่งขัน
10. เมื่อสองฝ่ายที่ขัดแย้งกัน แล้วไม่ทำอะไรเลย อาจจะมัวแต่ดูเชิงกัน เกิดการเกี่ยงกันทำงาน หรือความขี้เกียจแก้ไขโดยวิธีใด
การหลีกเลี่ยง
แบ่งปันกัน เราอยู่กันไม่เกิน 100 ปีหรอกครับ
สุดท้ายก็ทิ้งไว้ที่โลก จะคงเหลือไว้แต่คุณงามความดีที่ให้ระลึกถึงกันครับ
Follow Us / Thanat Sirikitphattana